วันพฤหัสบดีที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัย

วิจัยเรื่อง : ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกมการศึกษาลอตโต

ผู้วิจัย : วรรณี วัจนสวัสดิ์

สรุปวิจัย : เกมการศึกษาลอตโตทำให้ทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กเพิ่มขึ้นจริง จากการวิจัยทําให้ทราบถึงทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกิจกรรมเกมการศึกษาลอตโต เพื่อไปเป็นแนวทางสําหรับครู ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องในการส่งเสริมและพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์รวมทั้งการจัดกิจกรรมการเล่นเกมการศึกษาลอตโตให้เหมาะสมยิ่งขึ้น เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังการทํากิจกรรมเกมการศึกษาลอตโตโดยรวมและรายด้านคือ ด้านการสังเกตเปรียบ เทียบ ด้านการจัดหมวดหมู่ ด้านการเรียงลําดับ ด้านการรู้ค่าจํานวน สูงขึ้น

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย :
      กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นเด็กปฐมวัยชาย–หญิง อายุ 4–5 ปี ที่กําลังศึกษา
อยู่ในชั้นอนุบาลปีที่่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 ส่วนการศึกษาอนุบาลโรงเรียนไผทอุดมศึกษา
กรุงเทพมหานคร สํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตพื้นที่การศึกษา 2
จํานวน 30 คนโดยมีขั้นตอนคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random Samping)
มา 1 ห้องเรียนจากจํานวน 8 ห้องเรียน


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย :
   1. เกมการศึกษาลอตโต จํานวน 45 เกม
   2. แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ จํานวน 4 ชุด ได้แก่
       แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการสังเกตเปรียบเทียบจํานวน 10 ข้อ
       แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการจัดหมวดหมู่ จํานวน 10 ข้อ
       แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านเรียงลําดับ จํานวน 10 ข้อ
       แบบทดสอบวัดทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ด้านการรู้ค่าจํานวน 10 ข้อ

วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ 2556
1. อาจารย์แจ้งเรื่องกิจกรรมต่าง
 - วันที่ 26 ก.พ. 56 สอบนอกตารางรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์เด็กปฐมวัย
เวลา 13.00 น. ห้องจะแจ้งภายหลัง
 - วันที่ 2 มี.ค. 56 งานกีฬาสีของสาขาการศึกษาปฐมวัย เวลา 09.00 น.
 - วันที่ 3 มี.ค. 56 งานปัจฉิมนิเทศ เวลา 10.00 - 14.00 น.และบายเนียร์เวลา 18.00 -20.00 น.
 - วันที่ 5 - 8 มี.ค. 56 ไปศึกษาดูงานที่จังหวัดหนองคายและประเทศลาว
2. อาจารย์สรุปบทเรียนที่เรียนมาทั้งหมด
3.อาจารย์ให้นักศึกษาสรุปบทเรียนที่เรียนมาได้เนื้อหาสาระและทักษะอะไรบ้าง
4.งานที่ได้รับมอบหมายให้ไปสรุปวิจัย 1 เรื่อง ลง Blogger (ห้ามซ้ำกับเพื่อน)

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 12 กุมภาพันธ์ 2556
1. สอบสอน หน่วย กล้วย
วันที่ 1 ศิวลักษณ์ (ชนิด)
วันที่ 2 จันจิรา (ลักษณะ)
2. สอบสอน หน่วย ข้าวโพด
วันที่ 1 อารี (ชนิด สามารถนำไปประกอบอะไรบ้าง)
วันที่ 2 ละมัย (ลักษณะ, ส่วนประกอบ)
วันที่ 3 เพชรลัดดา (ประโยชน์)
วันที่ 4 สุภาวดี (การปลูก)
วันที่ 5 นิศาชล (Cooking)


สรุปสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ปฐมวัย

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 5 กุมภาพันธ์ 2556
1. สอบสอน หน่วยไข่
- วันที่ 1 วรรณพร (ชนิด)
- วันที่ 2 ทิพากร (ลักษณะ , ส่วนประกอบ)
- วันที่ 3 ขวัญชนก (ประโยชน์)
- วันที่ 4 รัชฎาภรณ์ (การถนอม)
- วันที่ 5 ชนากานต์ (cooking)

2. สอบสอน หน่วยส้ม
- วันที่ 1 ศิริวรรณ (ชนิด)
- วันที่ 2 นฎา (ลักษณะ , ส่วนประกอบ)
- วันที่ 3 จุฑาทิตย์ (ประโยชน์)
- วันที่ 5 วรางคณา (cooking)

3..งานที่ได้รับมอบหมาย
ไปอ่านและสรุปงานวิจัยและสาระ มาตรฐานคณิตศาสตร์ ลงในBlogger

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 29 มกราคม 2556
1. พูดคุย ปรึกษากันเรื่่องงานกีฬาสี บายเนียร์ และงานการแสดงความสามารถของคณะศึกษาศาสตร์
2.รายชื่อผู้แสดง
รำ  -  สว่างจิต (เชิญพระขวัญ)
ร้องเพลง - รัตติยา (เพลงหนูไม่รู้)
โฆษณา - นิศาชล , ละมัย
พิธีกร - ลูกหยี , ซาร่า
การแสดงโชว์ - ลิปซิ้งเพลง จุฑามาศ, นีรชา
                       - เต้นประกอบเพลง  พลอยปภัส, เกตุวดี,มาลินี
                       - ละครใบ้  อัจฉรา , จันทร์สุดา
                       - ตลก ณัฐชา , ดาราวรรณ, ชวนชม
ผู้กำกับหน้าม้า - พวงทอง , นฎา
3.เป็นคณิตศาสตร์
มาตรฐานที่ 1 : การนับ
มาตรฐานที่ 2 : ช่วงเวลาทำแต่ละการแสดง
มาตรฐานที่ 3 : เวที การขึ้นเวที การนั่ง
มาตรฐานที่ 4 : รูปแบบ แบบรูป (Pattern) พีชคณิต
มาตรฐานที่ 6 : หาค่าทางสถิติ

วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคาร ที่ 22 มกราคม 2556
- ส่งสื่อคณิตศาสตร์ที่อาจารย์มอบหมายให้กลับไปทำ





- อาจารย์บอกคำแนะนำในการสอบสอนอาทิตย์หน้า โดยยกตัวอย่างเรื่อง "ไข่"
วันจันทร์ : เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้าง
วันอังคาร : เด็กๆรู้จักไข่อะไรบ้าง ให้เด็กสังเกตและสัมผัสและทำตารางเปรียบเทียบและเซต
วันพุธ : ประโยชน์ ต้องเป็นนิทาน ใช้การวัด ทิศทาง ตำแหน่ง ระยะทาง
วันพฤหัสบดี : Cooking
วันศุกร์ : การถนอม ต้องใช้วิธีการสาธิต
- อาจารย์นำสื่อคณิตศาสตร์ หลักหน่วย หลักสิบ มาให้ดู

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 15 มกราคม 2555
  อาจารย์ให้ส่งฝาขวดน้ำที่มอบหมายให้

  มาตรฐานคณิตศาสตร์

  1. จำนวนการนับ และการดำเนินการ - นับจำนวนทั้งหมด แทนค่าด้วยสัญลักษณ์ตัวเลขฮินดูอารบิค
  2. การวัด - ต้องมีเครื่องมือ จะได้ค่า ปริมาณและมีหน่วยตามมาแทนค่าด้วยตัวเลขฮินดูอารบิค อาจใช้ระยะห่างเป็นฝ่ามือ ฝาน้ำ กระดาษ แทนค่าด้วยกราฟ ภาพ
  3. เรขาคณิต - รูปทรง สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม วงกลม ตำแหน่ง ทิศทาง
  4. พีชคณิต - แบบรูป (Pattarn) หรือ รูปแบบ เกมการศึกษาต่างๆ เช่น  จับคู่ ความสัมพันธ์สองแกน

    5. วิเคราห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น -  การเช็คข้อมูลเด็กที่มาเรียน และเด็กที่ขาดเรียน
นำมาใช้บูรณาการด้านคณิตศาสตร์เรื่ิอง ตัวเลข การนับ การบวก(เพิ่มขึ้น) และการลบ (ลดลง)
งานที่ได้รับมอบหมาย
  - จับกลุ่ม 18 - 19 คน ทำกราฟเส้นแนวตั้งและแนวนอน
  - เตรียมสอบสอน